กำลังดู 1 คน

ออนไลน์วันนี้ 27 คน

ทั้งหมด 20,166 ครั้ง

ประกาศ คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏอุบลราชธานี เรื่อง ประกาศผลการพิจารณาการนำเสนอบทความวิจัย บทความวิชาการ ดีเด่น ดี และชมเชย ประจำกลุ่มย่อยในการประชุมวิชาการระดับชาติ ด้านมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ ครั้งที่ ๑๐

ผู้ประกาศ: ADMIN | วันที่ประกาศ: 19 กรกฏาคม 2565 | เปิดอ่าน 427 | ประชาสัมพันธ์

* หากมีปัญหาดูผ่านเว็บไม่ได้ให้ดาวน์โหลดไฟล์ที่นี่ ประกาศ-คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์.pdf   512.93 kb. ดาวน์โหลด

ประกาศ คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์
มหาวิทยาลัยราชภัฏอุบลราชธานี
เรื่อง ประกาศผลการพิจารณาการนำเสนอบทความวิจัย บทความวิชาการ ดีเด่น ดี และชมเชย
ประจำกลุ่มย่อยในการประชุมวิชาการระดับชาติ ด้านมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ ครั้งที่ ๑๐
 
 
ประกาศ คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์
มหาวิทยาลัยราชภัฏอุบลราชธานี
เรื่อง ประกาศผลการพิจารณาการนำเสนอบทความวิจัย บทความวิชาการ ดีเด่น ดี และชมเชย
ประจำกลุ่มย่อยในการประชุมวิชาการระดับชาติ ด้านมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ ครั้งที่ ๑๐
ประจำปี พ.ศ.๒๕๖๕
...........................................
          ตามที่คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏอุบลราชธานี ได้จัดการประชุมวิชาการระดับชาติ ด้านมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ ครั้งที่ ๑๐ ประจำปี ๒๕๖๕ หัวข้อ “วิจัยและนวัตกรรม : การพัฒนาท้องถิ่นในภูมิทัศน์ใหม่” ในวันที่ ๑๑ กรกฎาคม ๒๕๖๕ เวลา ๐๘.๐๐ – ๑๗.๐๐ น. ณ คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏอุบลราชธานี โดยมีคณาจารย์ นักวิชาการ และนักศึกษาทั้งภายใน และภายนอกร่วมนำเสนอบทความวิจัย และบทความวิชาการ จำนวน ๕๑ บทความ คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ จึงประกาศผลการพิจารณาการนำเสนอบทความวิจัย บทความวิชาการ ดีเด่น ดี และชมเชยประจำกลุ่มย่อย                ในการประชุมวิชาการระดับชาติ ด้านมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ ครั้งที่ ๑๐ ประจำปี พ.ศ.๒๕๖๕ ดังนี้
 
กลุ่มที่ ๑  ภาษา และสารสนเทศ

ผลการพิจารณา ชื่อบทความ ผู้นำเสนอ
ดีเด่น ฆาตกรรมกุหลาบดำ: การศึกษาด้วยการวิจารณ์วรรณกรรมแนวหลังอาณานิคมนิยมและการวิจารณ์วรรณกรรมตามคตินิยมหลังสมัยใหม่ อาจารย์ธงชัย แซ่เจี่ย
คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์
มหาวิทยาลัยราชภัฏนครปฐม
ดี ผลการฝึกอบรมตามโครงการการพัฒนาทักษะการรู้เท่าทันสื่อดิจิทัลและการพัฒนาทักษะการผลิตสื่อสร้างสรรค์ ปลอดภัย สำหรับผู้สูงอายุ เกษศิริ ทองเฉลิม ณรัช ไชยชนะ  เกริกศักดิ์ เบญจรัฐพงศ์ วชิระ โมราชาติ อธิป เกตุสิริ และอัจฉรีย์ พิมพิบูล
สาขาวิชาเทคโนโลยีดิจิทัลเพื่อการศึกษา
คณะครุศาสตร์
มหาวิทยาลัยราชภัฏอุบลราชธานี 
 
                          
ผลการพิจารณา ชื่อบทความ ผู้นำเสนอ
ชมเชย ความแตกต่างทางภาษาศาสตร์และวัฒนธรรมที่มีผลต่อการแปลภาษาไทยเป็นภาษาอังกฤษ: ร่องรอยของภาษาที่หนึ่งในงานแปล ปริเทพ  โคตรคำ
สาขาวิชาภาษาอังกฤษ คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏอุบลราชธานี
ชมเชย ปัญหาในการใช้คุณานุประโยคแบบจำกัดความในประโยคภาษาอังกฤษของนักศึกษาชั้นปีที่ 2 สาขาวิชาภาษาอังกฤษธุรกิจ มหาวิทยาลัยราชภัฏอุบลราชธานี จุฑามณี ทิพราช นิติรัตน์ อุทธชาติ  ณัฐธิดา สุจริตจันทร์ พัทธนันท์ สุจริตจันทร์ จิดาภา โชคหิรัญนาคิน
สาขาวิชาภาษาอังกฤษธุรกิจ
คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏอุบลราชธานี
ชมเชย แนวทางการพัฒนาการจัดกิจกรรมส่งเสริมการอ่านของโรงเรียนตำรวจตระเวนชายแดน ในเขตพื้นที่บริการของมหาวิทยาลัยราชภัฏอุบลราชธานี วรนุช ศรีพลัง  ชนันรัตน์ รูปใหญ่
และปัทมา จรัสรุ่งรวีวร
สาขาวิชาบรรณารักษศาสตร์
คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏอุบลราชธานี
 
กลุ่มที่ ๒  งานสร้างสรรค์ดนตรี ๑
 
ผลการพิจารณา ชื่อบทความ ผู้นำเสนอ
ดีเด่น การเรียนรู้ทางดนตรีด้วยกระบวนการเรียนรู้แบบมีส่วนร่วมในระบบออนไลน์  กำพร ประชุมวรรณ และทินกร อัตไพบูลย์
คณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยนครพนม
ดี การวิเคราะห์การเรียบเรียงเสียงประสานเพลงกราวกีฬาสำหรับวงโยธวาทิตของนาวาอากาศโทอารี  สุขะเกศ ถวัลย์ชัย สวนมณฑา สัญชัย ด้วงบุ้ง
และวรเชษฐ์ วรพุทธินันท์
วิทยาลัยดุริยางคศิลป์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม
ชมเชย ถอดบทเรียน โครงการพัฒนาทักษะการสอนดนตรีและควบคุมวงดนตรี ของ
นักศึกษาสาขาวิชาดนตรีศึกษา คณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏอุตรดิตถ์ 
ปฐมพงษ์ ธรรมลังกา
สาขาวิชาดนตรีศึกษา
คณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏอุตรดิตถ์
 
 
 
 
ผลการพิจารณา ชื่อบทความ ผู้นำเสนอ
ชมเชย Sound of Ubon Ratchathani : ผลงานสร้างสรรค์ด้านดุริยางศิลป์ ชวฤทธิ์ ใจงาม กฤษณะ ทิพย์อักษร
และประณต พลอาษา
สาขาวิชาดนตรี
คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัย
 
กลุ่มที่ ๓  งานสร้างสรรค์ดนตรี 2
 
ผลการพิจารณา ชื่อบทความ ผู้นำเสนอ
ดีเด่น ดนตรีพิธีกรรมเหยา ในจังหวัดมุกดาหาร สัญชัย ด้วงบุ้งถวัลย์ชัย สวนมณฑา
และวรเชษฐ์ วรพุทธินันท์
วิทยาลัยดุริยางคศิลป์
มหาวิทยาลัยมหาสารคาม
ดี การจัดการเรียนการสอนและการประเมินผลหลักสูตรภูมิปัญญาท้องถิ่น ตำบลคอรุม  อำเภอพิชัย จังหวัดอุตรดิตถ์ : วงมังคละและวงกลองยาว วัชระ แตงเทศ
สาขาวิชาดนตรี
คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏอุตรดิตถ์
ชมเชย บทบาทของพระเจนดุริยางค์ต่อวงการดนตรีของไทย วรเชษฐ์ วรพุทธินันท์ ถวัลย์ชัย สวนมณฑาและสัญชัย ด้วงบุ้ง
วิทยาลัยดุริยางคศิลป์
มหาวิทยาลัยมหาสารคาม
ชมเชย รูปแบบการสืบทอดแตรวง คณะขวัญใจป่าเซ่า จังหวัดอุตรดิตถ์ ภูมินทร์ ทองอินทร์ และคณะ
คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์
มหาวิทยาลัยราชภัฏอุตรดิตถ์
 
 
 
 
 
 
กลุ่มที่ ๔ วัฒนธรรมและการท่องเที่ยว
ผลการพิจารณา ชื่อบทความ ผู้นำเสนอ
ดีเด่น การจัดทำแผนที่ท่องเที่ยวทางวัฒนธรรมลุ่มน้ำชีและลำเซบาย อย่างมีส่วนร่วมของชุมชน เพื่อส่งเสริมการท่องเที่ยววิถีชุมชนจังหวัดอุบลราชธานีในยุค New Normal จุฬาลักษณ์ วารินสิทธิกุล พชร วารินสิทธิกุล และปริญญา ทุมมาลา
สาขาวิชาภาษาจีน
คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏอุบลราชธานี
ดี การพัฒนาผลิตภัณฑ์ชุมชนท้องถิ่น ด้วยการสร้างเรื่องราวเพื่อเพิ่มมูลค่า โดยการวิจัยเชิงปฏิบัติการแบบมีส่วนร่วม เพื่อฝ่าวิกฤติโควิด 19 ในเขตพื้นที่จังหวัดขอนแก่น กฤติกา พรหมสาขา ณ สกลนคร
สมศักดิ์ จันทดี  ฐรัณภรณ์ ธนานิธิกุลโรจน์
และสาคร แถวโนนงิ้ว
 
ชมเชย การศึกษาการนำภูมิปัญญาท้องถิ่นมาใช้ในการจัดการเรียนการสอน     เพื่อพัฒนาบทเรียนท้องถิ่นสองภาษา กนิษฐา จัตุพันธ์ รติรส พิพิธภักดี        วัชรินทร์ สินไทย สุทธิดา จารุแพทย์ จินาพร  สาขาวิชาภาษาอังกฤษ
คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏอุบลราชธานี
ขมเขย คติความเชื่อของชาวจีนในเขตอำเภอเมืองฯ จังหวัดศรีสะเกษ
: กรณีศึกษาประติมากรรมรูปเคารพ
ธันยพงศ์ สารรัตน์ ธีรวัฒน์ กันยาสาย  จรัญชัย เสาเวียง ธีนพัฒน์ จันทร์สว่าง  และภูธเนศ ศรีมงคล
คณะครุศาสตร์
มหาวิทยาลัยราชภัฏศรีสะเกษ
ชมเชย วัฒนธรรมอาหารพื้นถิ่นกับการท่องเที่ยวในยุคถัดไป นิชภา โมราถบ วิทยา สุขสา
และภาณุรังษี เดือนโฮ้ง 
คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์
มหาวิทยาลัยราชภัฏอุตรดิตถ์
 
 
 
 
 
กลุ่มที่ ๕ ภาษาและวรรณกรรม
ผลการพิจารณา ชื่อบทความ ผู้นำเสนอ
ดีเด่น การศึกษาเปรียบเทียบระบบเสียงภาษาลาว แขวงสาละวัน
สาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาวกับระบบเสียงภาษาไทยถิ่นอุบลราชธานี
สายธาร โล่ห์ป้อง   และณัฐสุดา ภาระพันธ์                                            สาขาวิชาภาษาไทย คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏอุบลราชธานี
ดี การศึกษาความหมายเชิงบวกและเชิงลบตัวเลขของจีน รุ่งอรุณ ผาดี  วิชพล แก้วจันทร์ 
และวิสุดา แก้วหยด
สาขาวิชาภาษาจีน คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏอุบลราชธานี
ชมเชย การศึกษาเปรียบเทียบคำศัพท์พื้นฐานภาษาเขมรถิ่นไทย ตำบลกันทรอม อำเภอขุนหาญ จังหวัดศรีสะเกษ กับคำศัพท์พื้นฐานภาษาเขมรมาตรฐานกัมพูชา ตำบลจัยโย อำเภอจ็อมการ์เลอ จังหวัดกำปงจาม ปกรณ์เกียรติ เพ็ชรรัตน์
และณัฐสุดา ภาระพันธ์                                                                   
สาขาวิชาภาษาไทย คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏอุบลราชธานี
 
ชมเชย การศึกษาวัฒนธรรมการเซ่นไหว้ในเทศกาลมงคลของชาวไทยเชื้อสายจีน ในจังหวัดอุบลราชธานี พนิดา สมบัติวงศ์  กฤติยาภรณ์ หมวดนา และอาจารีย์ ศรีหล้า
สาขาวิชาภาษาจีน คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏอุบลราชธานี
 
 
 
 
 
 
 
กลุ่มที่ ๖ งานสร้างสรรค์ดนตรีและนาฏศิลป์
ผลการพิจารณา ชื่อบทความ ผู้นำเสนอ
ดีเด่น นาฏศิลป์สร้างสรรค์ ชุดวิจิตรภูษาอัญมณีแห่งพงไพร ภัคระมายล์ พรหมราช ยุภาวดี พวงมาลา จริยา ปินะทานัง ชัยธวัช ทองจันทร์ และพันธ์ทิพย์ ศรีธรรม
สาขาวิชานาฏศิลป์และการละคร        คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏอุบลราชธานี
ดี กระบวนการถ่ายทอดจับเปย ของครูจุม
แสงจันทร์
ธเนศ ชมชื่น จรรยา วันแพง และณณฐ วิโย
สาขาวิชาดนตรี  คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏอุบลราชธานี
ชมเชย นาฏศิลป์สร้างสรรค์ ชุดเวียงเดิมกาหลง ภูรินทร์ ภูธา จารุวรรณ ภูมีคำ
สุภรณ์ทิพย์ ทองผา และวิราณี แว่นทอง
สาขาวิชานาฏศิลป์และการละคร         คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏอุบลราชธานี
ชมเชย เซิ้ง Music การปรับตัวของอุตสาหกรรมดนตรีและค่ายเพลงในปัจจุบันกับโรค COVID-19 บญจพณ คงบุญ,ชลสิทธิ์  ไพลธุรี และ
ศรัณย์ ศรีพุทธรินทร์
สาขาวิชาดนตรี  คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏอุบลราชธานี
ชมเชย การถ่ายทอดหมอลำกลอน : กรณีศึกษาหมอลำทองแปน พันบุปผา ชินราช แสวงศิลป์ พีรพัฒน์ หลินภู และนิสิต  ภาคบุปผา
สาขาวิชาดนตรี  คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏอุบลราชธานี
 
 
 
 
กลุ่มที่ ๗ งานสร้างสรรค์นาฏศิลป์
ผลการพิจารณา ชื่อบทความ ผู้นำเสนอ
ดีเด่น การสร้างสรรค์นาฏศิลป์พื้นบ้าน ชุดจุดขี้ไต้นำฮอยไฟแห่กลองใหญ่บ้านหัวเรือ ณัฐวุฒิ อนุพัฒนกุล จีระภัทร โพธารินทร์
เพ็ญพิชชา ฐิตะสาร
วรางคณา วุฒิช่วย และจักรวาล วงศ์มณี
สาขาวิชานาฏศิลป์และการละคร  คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏอุบลราชธานี
ดี การสร้างสรรค์นาฏศิลป์พื้นบ้านอีสานใต้ ชุดเสน่ห์สาวอาวแซว นุชบา พวงมะลี ประภาพรรณ ปทิทัง มลธิชา มาลา
วรางคณา วุฒิช่วย และพิชิต ทองชิน
สาขาวิชานาฏศิลป์และการละคร  คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์
ชมเชย นาฏศิลป์สร้างสรรค์ ชุดฟ้อนสายใยเส้นไหมอีสานใต้ ธรรมนูญ คงมงคล โชคชัย พูลทอง บุญทิวา  ท่อนทอง วรางคณา วุฒิช่วย พลวัฒน์ โตสารเดช และพันธ์ทิพย์ ศรีธรรม
สาขาวิชานาฏศิลป์และการละคร  คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏอุบลราชธานี
ชมเชย นาฏศิลป์พื้นบ้านอีสานสร้างสรรค์ ชุดเอ้ขันหมากฝากฮัก ธนศักดิ์ ต้นจันดี จารุวรรณ ไชยานุกูล สุภัสตา บรรเทาพิตร
วรางคณา วุฒิช่วย และพิชิต ทองชิน
สาขาวิชานาฏศิลป์และการละคร          คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏอุบลราชธานี
 
ชมเชย นาฏศิลป์พื้นเมืองสร้างสรรค์ ชุดบ่าวภูไท อุดม รอดคำทุย พักขพงษ์ นันทศรี
รัตติกาล  แก้วหาวงศ์ และปิ่นมณี สาระมัย
สาขาวิชานาฏศิลป์และการละคร         คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏอุบลราชธานี
 
กลุ่มที่ ๘ การจัดการการท่องเที่ยวและการบริการ
ผลการพิจารณา ชื่อบทความ ผู้นำเสนอ
ดีเด่น แนวทางการพัฒนาศูนย์การเรียนรู้ทุเรียนภูเขาไฟ เพื่อส่งเสริมการท่องเที่ยวโดยชุมชน กรณีศึกษา : ชุมชนซำตารมย์ อำเภอกันทรลักษ์ จังหวัดศรีสะเกษ ณรงค์ฤทธิ์ ทองจันทร์, ศุภนิดา ภาดี,อารีรัตน์ ลีลา ,จีรพรรณ ดวงโสมา ,ธนาภา สาระพล ,กุลวดี ละม้ายจีน และ อาภารัตน์ ประทีปะเสน
ดี แนวทางการพัฒนาการตลาดการท่องเที่ยวชุมชนปะอาว ตำบล  ปะอาว จังหวัดอุบลราชธานี กฤษณา ภูผานิล, ยุวนันท์ รังหอม, กาญจนา อุทุมพันธ์ ,กนกพิชญ์ กิ่งจันทร์ ,กุลนันท์ แสงทอง, กุลวดี ละม้ายจีน และภูวดล งามมาก
ชมเชย แนวทางการพัฒนาแหล่งเรียนรู้ชุมชนเพื่อยกระดับเป็นแหล่งท่องเที่ยว กรณีศึกษา การเพาะปลูกเห็ดฟาง  บ้านทุ่งสว่าง ตำบลโนนกลาง อำเภอสำโรง จังหวัดอุบลราชธานี                                                        จิรพรรณ ขันสิงห์, จุฑาภรณ์ นันทะบุตร, ทิพย์วรรณ ศรีเมือง ,สุธาวินี วงศ์ขึง ,กุลวดี ละม้ายจีนและเนียนนิภา สำเนียงเสนาะ
ชมเชย การพัฒนาการท่องเที่ยวแบบล่องแพบ้านท่าเยี่ยม ตำบลเขื่องคำ อำเภอเมือง จังหวัดยโสธร ณัฐนิสา ไชยวิเศษ ,มุทิตา จิตมหัน,สุธนัย ไพรชิต ,นิภารัตน์ ไชยสุวรรณ ,สหพล เกษียร และกุลวดี ละม้ายจีน
ชมเชย แนวทางการพัฒนากิจกรรมการท่องเที่ยวแบบแคมป์ปิ้งสำหรับนักท่องเที่ยวกลุ่ม Generation Zกรณีศึกษา หาดแสนตอ ริมเขื่อนสิรินธร บ้านโป่งดินดำ ตำบลช่องเม็ก อำเภอสิรินธร จังหวัดอุบลราชธานี นิรุธ พิมพ์พันธ์ , พิชชาภรณ์ ชาภักดี,วรทัต จิตรจันทร์ ,จิราวรรณ สิงห์มี ,ณัฐชยา หนูทิพย์,กุลวดี ละม้ายจีน และอาภารัตน์ ประทีปะเสน
 
 
 
 
 
 
 
กลุ่มที่ ๙ การจัดการการท่องเที่ยวและการบริการ ธุรกิจโรงแรม และพัฒนาชุมชน